โครงงานนักศึกษารังสีเทคนิค มอ.
ผลงานของนักศึกษารังสีเทคนิค มอ. รุ่นที่ 3 ประจำปี 2564
ผู้ร่วมโครงการ | ชื่อโครงการ | |
น.ส.อภิสรา พะสะโร และ นาย วิธวิทย์ แซ่ลิ่ม |
โปรแกรมอตโนมัตัวิเคราะห์ผลการควบคุมคุณภาพความสอดคล้องของแนวลำรังสีกับลำแสงในระบบดิจิทัลเอกซเรย์ (Automatic QC Analysis of collimator and beam alignment Program in DR system ) ---------------------------------------------------------------- |
|
นาย ศุภวิชญ์ เครือบวรรัฐ และนาย ณัฐปคัลภ์ จิตรานนท์ |
เทคโนโลยีโลกเสมือนจริงจำลองการตรวจกระดูกสันหลังส่วนเอวด้วยเอกซเรย์ คลื่น แม่เหลกไฟฟ้า สาหรับการเรียนของนักศึกษารังสีเทคนิค (Virtual Reality Simulation in MRI lumbar Spine for Education of Radiological technologist’s student) ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.ณัฐริกา ฤทธิ์เทวา และ นายเจษฎา นนทสิทธิ์, น.ส อัญชิษฐา มะลิฉ่ำ |
การคำนวณปริมาตรตับจากภาพคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใน Hepatobiliary phase หลังฉีด Gd-EOB-DTPA Volumetric segmentation of liver in hepatobiliary phase of Gd-EOB-DTPA enhanced MRI ---------------------------------------------------------------- |
|
นาย ศิวพงษ์ สังข์ด้วง และ นาย สุรดิษ หอมกลิ่น |
การพัฒนาสือการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์สามมิติด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่องหลักการทำงานและส่วนประกอบของเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิดสองค่าพลังงาน (The development of 3D interactive learning media using augmented reality technology about basic principles and instruments of dual energy computed tomography) ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.นงนภัส นันทะศรี และ น.ส. พิชชานันทิ์ คงชัยวัชร์ |
นวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยถ่ายภาพเอกซเรย์เชิงกรานในท่า inlet และ outlet ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ (The innovation of pelvis inlet and outlet positioning x-ray at Songklanagarind Hospital) ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.ศิรภัสสร เชาว์นิธิศักดิ์ และ น.ส.อนรรฆวี พรหมจนทร์ |
การเรียนรู้เชิงลึกในการตรวจจับหินปูนบนภาพเอกซเรย์เต้านม สำหรับผู้ป่วยที่ ผ่านการตรวจเจาะชิ้นเนื้อเต้านม ณ ศูนย์ถันยเวชช์ โรงพยาบาลสงขลานครนทร์ (Deep Learning in Calcifications Detection in Mammogram Image for Patient under Stereotactic Biopsy at Tanyawej Center, Songklanagarind Hospital) ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.ญาณิตตา พุทธิศาวงศ์ และ น.ส.ภาสินี คงปราบ |
การตรวจจับภาวะเลือดออกในสมองในภาพเอกซเรยคอมพิวเตอร์ส่วนหัวของผู้ป่วยที่ เป็นโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้การเรียนรู้ เชิงลึก ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ (The detection of ์ hemorrhage on head computed tomography of stroke patients by using deep learning at Songklanagarind hospital ) ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.พัทธนันท์ จันทร์เวชวิโรจน์ และ น.ส.อัญธิกา เขียวขำ |
การศึกษาระดับปริมาณรังสีอ้างอิงสำหรับการตรวจคัดกรองมะเร็งเตานมด้วยเครื่องเอกซเรย์เตานมระบบดิจิทัล ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร (Local Diagnostic Reference Levels for breast screening using Digital Mammography at Songklanagarind Hospital ) ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.มาวารี ฤดูดี และ น.ส.เมตาปราณ แซ่ตัน |
การประเมินความคลาดเคลื่อนจากการจัดท่าของผู้ป่วยมะเร็งเตานมเพศหญิงที่ใช้รังสีรักษา ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ (Setup Error Assessment of Female Breast Cancer ์ Radiotherapy at Sonklanagarind Hospital) ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.จรรยพร ทองแท้ และ น.ส.ธนพรรณ อยู่สุข |
การประเมินความคลาดเคลื่อนในการจัดท่าของหน้ากากยึดตรึงไทป์เอส สาหรับการฉายรังสี มะเร็งศรีษะและลำคอ ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ (Assessment of Setup error for Type-S™ thermoplastic masks in head and neck cancer radiotherapy at Songklanagarind Hospital) ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.นิชมน วันเอเลาะ และ น.ส.มุมตาซ วามุ |
การประเมินความคลาดเคลื่อนของการจัดท่าในการฉายรังสีรักษามะเร็งลำาไส้ตรง ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ( Evaluation of setup errors in rectal cancer radiotherapy at Songklanagarind Hospital) ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส. นภัสวรรณ บุญนวล และ น.ส. อลิษา จันทร์ศรี |
การศึกษาปริมาณรังสีของระบบภาพนำวิถีจากเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ลำรังสีรูปกรวย ในรังสีรักษา (The study of imaging dose from cone -beam computed tomography in image-guided radiotherapy) ---------------------------------------------------------------- |
ผลงานของนักศึกษารังสีเทคนิค มอ. รุ่นที่ 2 ประจำปี 2563
ผู้ร่วมโครงการ | ชื่อโครงการ | |
น.ส.นิชนันท์ ขวัญทอง และ นส.นูรนาเดีย กูบกระบี่ |
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสร้างภาพเสมือนจริงในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้บนเว็บไซต์ เรื่อง หลักการพื้นฐานทางฟิสิกส์ของเครื่องสร้างภาพด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า The Application of augmented reality for developing web-based learning about the principles of basic MRI physics ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.ปิณชาน์ ทองเจือเพชร และ นส.อัคเรศ จินดารัตน์ |
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ เรื่อง การตรวจสมองแบบมาตรฐานด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ The application of Virtual Reality for developing learning media about Standardized MRI protocol for Brain at Prince of Songkla University ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.กิ่งรดา บัวรัตนกาญจน์ และ นส.อัญชิสา วศินานนท์ และ นส.ปณัฏฐา ดำทองเสน |
การศึกษาประสิทธิภาพของโครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชันเชิงลึกในการตรวจจับหินปูนของภาพเอกซเรย์เต้านม Breast Micro-Calcification Detection from Mammograms using Deep Convolutional Neural Network. ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.กรภัทร พันธุ์อุบล และ นส.กมลชนก หมดมลทิน |
การศึกษาระดับปริมาณรังสีอ้างอิงสำหรับผู้ป่วยที่มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วย เครื่องเอกซเรย์เต้านมระบบดิจิทัล ณ ศูนย์ถันยเวชช์ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ Local Diagnostic Reference Levels for screening mammography at Tanyawej Breast Center in Songklanagarind Hospital. ---------------------------------------------------------------- |
|
นส.โชติกา นิวาสวุฒิกิจ และ นส.ฮัสลินดา ปาติ |
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อคำนวณหาค่า Optimization Administered Activity ที่สัมพันธ์กับค่า BMI ในผู้ป่วย Bone Scan Development of a computer program to calculate the optimization administered activity related with BMI in bone scan patients. ---------------------------------------------------------------- |
|
พัณณิตา พัฒนทิพากร และ นส.รวินท์นิภา เทพเสาร์ และ นส.นันญ์ชนัต ทิพย์เนตรสกุล |
การประเมินการลดสัญญาณรบกวนจากโลหะด้วยภาพเสมือนโดยการใช้เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ แบบสองค่าพลังงานจากหุ่นจำลองส่วนข้อศอกที่ใส่โลหะ Evaluation of Metallic Artifacts Reduction from virtual monochromatic image using spectral CT with metallic implant in elbow phantom. ---------------------------------------------------------------- |
|
นส. กนกขวัญ ชูบุญลาภ และ นส.ณัฐฐิตา แก้วละเอียด |
การประเมินปริมาณรังสีขนาดเฉพาะในส่วนศีรษะของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับจากการตรวจเครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ โดยใช้ค่าแก้จากรายงาน AAPM ฉบับที่ 293 Size-Specific Dose Estimates(SSDE) for Head CT in Pediatric Patients by using conversion factor from AAPM No.293 ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.ภัควิภา วัชระศิรานนท์ และ นส.พิมพ์ปวีณ์ อินสว่าง |
การศึกษาคุณสมบัติของวัสดุ Acrylonitrile butadiene styrene ในการประดิษฐ์อุปกรณ์ยึดตรึงทารกสำหรับการถ่ายเอกซเรย์บริเวณทรวงอก A study of properties of Acrylonitrile butadiene styrene for immobilization device for neonates in chest radiography. ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.สุมาดี สายโสม และ นส.นิจวรีย์ จันทร์มณี |
การประดิษฐ์อุปกรณ์ป้องกันรังสีจากแผ่นยางผสมบิสมัทปริมาณสูงสำหรับงานด้านรังสีวินิจฉัย The invention of rubber mixed with high loading bismuth for radiation protection in diagnostic x-ray. ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.สุพิชชา ทิพย์บุญแก้ว และ นส.สุวิมล พิมประวัติ |
การประเมินกราฟความสัมพันธ์ระหว่างเฮาน์สฟิลด์ยูนิตกับความหนาแน่นอิเล็กตรอนของภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ลำรังสีรูปกรวยในการคำนวณปริมาณรังสี Assessment of Hounsfield Units to electron density calibration curve in cone-beam computed tomography images based dose calculation. ---------------------------------------------------------------- |
|
น.ส.บุญรัตน์ บุญทอง และ นส.สกุลกาญจน์ อินทร์แก้ว |
การศึกษาประสิทธิภาพของแอพพลิเคชั่นการเรียนการสอน เรื่องการจัดท่าถ่ายภาพทางรังสีของกะโหลกศีรษะและกระดูกใบหน้าบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ The effectiveness of education application for radiographic positioning of skull and facial bone on mobile device. ---------------------------------------------------------------- |
|
|
ผลงานของนักศึกษารังสีเทคนิค มอ. รุ่นที่ 1 ประจำปี 2562
ผู้ร่วมโครงการ | ชื่อโครงการ | |
นางสาวอัฟนาน เซียว และ นางสาวณัฐกานต์ อัศวนุรักษ์ |
ปรแกรมวิเคราะห์ผลการควบคุมคุณภาพของภาพแบบอัตโนมัติในระบบดิจิทัลเอกซ์เรย์ Automatic QC Analysis Program in Digital Radiography System ---------------------------------------------------------------- |
|
นายธนกฤต ชาญชญานนท์ และ นายอัฟฟาน บือราเฮง |
โปรแกรมสำหรับการเชื่อมต่อภาพเอกซเรย์แบบอัตโนมัติด้วยเทคนิคการตรวจจับแบบฮาร์ริส Automatic stitching program of x-ray images by Harris corner detection ---------------------------------------------------------------- |
|
นางสาวกานต์มณี ปานนิล และ นายมนตรี ดีหมัด |
การทดสอบโปรแกรมกำหนดขอบเขตของกล้ามเนื้อบนภาพ CT โดยใช้เทคนิค region growing เพื่อช่วยในการวิณิจฉัยภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย comparison of semi-automatic region growing for paravertebral muscles analysis with manual in CT images ---------------------------------------------------------------- |
|
นางสาวศรีปัญญา ชัยเพชร และ นางสาวอิสรีย์ กฤดาภรณ์ |
การสร้างสื่อการเรียนรู้บนเว็บไซต์จากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการสร้างภาพเสมือนจริง เรื่อง อันตรกิริยาพื้นฐานของโฟตอนต่อสสาร สำหรับนักศึกษารังสีเทคนิค Creating web-based learning from using augmented reality (AR) about basic interaction of photon with matter for radiological students” interaction of radiation with matter for radiological students. ---------------------------------------------------------------- |
|
นางสาวชลิยา เอี่ยมสุทธิ์ และ นางสาวฟาดีละห์ บาราเฮง และ นางสาวสุธารส ปติโนธรรม |
ศึกษาคุณภาพของภาพโดยใช้โปรโตคอลศีรษะและลำคอของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ Study Image Quality Using Head and Neck Protocol Songklanagarind Hospital. ---------------------------------------------------------------- |
|
นางสาวกุสุมนิภา วงศ์สุวรรณ และ นางสาวจิรฐาจันทรภักดี |
การประเมินวิธีการวัดความคงที่ของลำรังสีในการทำประกันคุณภาพรายวัน EVALUATION OF METHOD FOR MEASURING OUTPUT CONSTANCY IN ROUTINE DAILY QA. ---------------------------------------------------------------- |
|
นางสาวชินา ลออพิพัฒน์ และ นายณัฐภัทร สุวรรณชาตรี
|
อุปกรณ์ช่วยยึดตรึงทารกในการถ่ายภาพเอกซเรย์บริเวณทรวงอก และช่องท้อง ---------------------------------------------------------------- |
|
นายพงศ์พล ลิมป์พรวิเชียร และ นายวัชรากร ปานเนียม |
ปัจจัยและแนวทางการลดการถ่ายภาพเอกซเรย์ซ้ำในระบบเอกซเรย์ดิจิตอลของการถ่ายภาพเอกซเรย์ทรวงอกและเข่าท่ายืนด้านข้าง ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ The factors and guideline for reducing image retake in Digital Radiography of Chest PA Upright and Knee Lateral Standing at Songklanakarind Hospital. ---------------------------------------------------------------- |
|
นางสาวแวนูรฮายาตี มูนะ และ นางสาวอัสมา หะยีเซะ |
การประเมินปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยเด็กขนาดต่างๆได้รับจากการตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ส่วนทรวงอกเเละช่องท้อง Size-Specific Dose Estimates fo chest and abdominal CT in pediatric patients. ---------------------------------------------------------------- |
|
นางสาวจินต์จุฑา เพ็ชรสุวรรณ และ นางสาวอนันตญา เส็นขาว |
การเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับจากการตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์เต้านมระบบดิจิตอล แบบ 2 มิติ ระหว่างศูนย์ถันยเวช และศูนย์บริการพิเศษรังสีวินิจฉัย ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ The comparison of the average glandular dose in two dimensional digital mammography between Thanyavej Center and Diagnostic Radiology excellent Service Center at Songklanakarind hospital. ---------------------------------------------------------------- |
|
นางสาวกชวรรณ โกประวัติ และ นางสาวชนาภา ฟุ้งชูเกียรติ |
การเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับจากการถ่ายภาพเอกซเรย์เต้านมระบบ 3 มิติ The comparison of the average glandular dose in digital tomosynthesis between Thanyavej Center and Diagnostic Radiology excellent Service Center at Songklanakarind hospital. ---------------------------------------------------------------- |
|
|